คำสั่งที่ไม่ค่อยได้ใช้งานใน AutoCAD
ในบทความนี้จะเขียนเกี่ยวกับ คำสั่งมีประโยชน์ ที่ผู้เขียนแบบส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ใช้งาน
คำสั่ง : FLATTEN
การทำงาน : ใช้ทำให้วัตถุอยู่ในระนาบเดียวกัน
ตัวอย่างใช้งาน : ในกรณีการ Hatch ใน 2D แบบ Pick point ถ้าเส้นขอบไม่อยู่ในระนาบเดียวกันจะเกิดปัญหาคือ AutoCAD ไม่สามารถคำนวณ Boundary ได้ เราก็ใช้ FLATTEN ช่วยให้เส้นทั้งหมดอยู่ในระนาบเดียวกันเสียก่อน
การทำงาน : ใช้ทำให้วัตถุอยู่ในระนาบเดียวกัน
ตัวอย่างใช้งาน : ในกรณีการ Hatch ใน 2D แบบ Pick point ถ้าเส้นขอบไม่อยู่ในระนาบเดียวกันจะเกิดปัญหาคือ AutoCAD ไม่สามารถคำนวณ Boundary ได้ เราก็ใช้ FLATTEN ช่วยให้เส้นทั้งหมดอยู่ในระนาบเดียวกันเสียก่อน
คำสั่ง : FLATSHOT
การทำงาน : ใช้สร้างเส้น 2 มิติ จากมุมมองของวัตถุ 3 มิติ
การทำงาน : ใช้สร้างเส้น 2 มิติ จากมุมมองของวัตถุ 3 มิติ
ตัวอย่างใช้งาน :
คำสั่ง : OVERKILL
การทำงาน : ลบวัตถุที่ทับซ้อนกัน
ตัวอย่างใช้งาน : กรณีใช้ AutoCAD ช่วยในการนับ Block เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มี Block ซ้อนทับกันอยู่ ให้ใช้คำสั่ง OVERKILL ก่อนที่จะทำการนับ
การทำงาน : ลบวัตถุที่ทับซ้อนกัน
ตัวอย่างใช้งาน : กรณีใช้ AutoCAD ช่วยในการนับ Block เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มี Block ซ้อนทับกันอยู่ ให้ใช้คำสั่ง OVERKILL ก่อนที่จะทำการนับ
คำสั่ง : DIV
การทำงาน : แบ่งเส้นด้วยจำนวนเท่ากัน โดยจุดที่แบ่งอาจแสดงเป็น block หรือ point
คำสั่ง : MEASURE
การทำงาน : แบ่งเส้นด้วยระยะที่กำหนด โดยจุดที่แบ่งอาจแสดงเป็น block หรือ point
การทำงาน : แบ่งเส้นด้วยจำนวนเท่ากัน โดยจุดที่แบ่งอาจแสดงเป็น block หรือ point
คำสั่ง : MEASURE
การทำงาน : แบ่งเส้นด้วยระยะที่กำหนด โดยจุดที่แบ่งอาจแสดงเป็น block หรือ point
คำสั่ง : COPYM
การทำงาน : การคัดลอก โดยพ่วงคำสั่ง DIV หรือ MEASURE ซึ่งได้เปรียบตรงที่ไม่ต้อ้งสร้าง reference line ( กรณีใช้ MEASURE ให้ปิด Object snap ก่อนกำหนดระยะห่าง )
การทำงาน : การคัดลอก โดยพ่วงคำสั่ง DIV หรือ MEASURE ซึ่งได้เปรียบตรงที่ไม่ต้อ้งสร้าง reference line ( กรณีใช้ MEASURE ให้ปิด Object snap ก่อนกำหนดระยะห่าง )
คำสั่ง : CHSPACE
การทำงาน : ย้ายวัตถุจาก Paperspace ไปอยู่ใน Modelspace ในตำแหน่งที่ตรงกัน
ตัวอย่างใช้งาน : กรณีเรารับแบบต่อมาจากผู้เขียนท่านอื่นซึ่งใช้เทคนิคการบอก Dimension ลงบน Paper space แทนที่จะบอกใน Model space ให้ใช้คำสั่ง CHSPACE เพื่อดึง Dimension มาอยู่ใน Model space
การทำงาน : ย้ายวัตถุจาก Paperspace ไปอยู่ใน Modelspace ในตำแหน่งที่ตรงกัน
ตัวอย่างใช้งาน : กรณีเรารับแบบต่อมาจากผู้เขียนท่านอื่นซึ่งใช้เทคนิคการบอก Dimension ลงบน Paper space แทนที่จะบอกใน Model space ให้ใช้คำสั่ง CHSPACE เพื่อดึง Dimension มาอยู่ใน Model space
คำสั่ง : ALIGN
การทำงาน : คำสั่งที่สามารถ เคลื่อนย้าย หมุน และย่อ-ขยาย scale ของวัตถุ ได้ในคราวเดียวกัน
คำสั่ง : REN
การทำงาน : ใช้แก้ชื่อ Block
เอาเท่าที่นึกออกตอนนี้ก่อน ไว้มีอะไรเพิ่มเติมค่อย Update กันอีกทีครับ
การทำงาน : คำสั่งที่สามารถ เคลื่อนย้าย หมุน และย่อ-ขยาย scale ของวัตถุ ได้ในคราวเดียวกัน
คำสั่ง : REN
การทำงาน : ใช้แก้ชื่อ Block
เอาเท่าที่นึกออกตอนนี้ก่อน ไว้มีอะไรเพิ่มเติมค่อย Update กันอีกทีครับ
ขอบคุณครับ
ตอบลบยินดีครับ
ลบ